เมนู

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส และปฏิฆะ เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม และ
โลภะ และขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส และปฏิฆะที่เกิดภายหลัง เป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

21. อัตถิปัจจัย


[558] 1. คันถสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี 1 วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.
2. คันถสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถวิปปยุตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ พึงจำแนก.
3. คันถสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-
ธรรม และคันถวิปปยุตตธรรม โดยอัตถิปัจจัย
มี 1 วาระ เหมือน
กับปฏิจจวาระ.
4. คันถวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถวิปปยุตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี 5 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และ อินทริยะ ฯลฯ พึงจำแนก.

5. คันถวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้ง
หลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ปฏิฆะที่สหรคตด้วยโทมนัส เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ
ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ
โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย.
6. คันถวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-
ธรรม และคันถวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม ที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ปฏิฆะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่
เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม และ โลภะ และขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส
และปฏิฆะ ย่อมเกิดขึ้น
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิ-
คตวิปปยุตตธรรม และ โลภะ, แก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส และ
ปฏิฆะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
7. คันถสัมปยุตตธรรม และคันถวิปปยุตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตตธรรม ด้วยอํานาจของอัตถิปัจจัย

มี 2 อย่าง คือ สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ 1 ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรมที่เกิดพร้อมกัน และหทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3 ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ 1 ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม และโลภะ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3 ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ 2 ฯลฯ
ขันธ์ 1 ที่สหรคตด้วยโทมนัส และปฏิฆะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ 2.

8. คันถสัมปยุตตธรรม และคันถวิปปยุตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่คันถวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี 5 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
ปัจฉาชาตะ และ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม ที่เกิดภายหลัง และมหาภูต-
รูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม และ
โลภะ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัสที่เกิดพร้อมกัน และปฏิฆะ เป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม และ
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่โลภะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ปฏิฆะ
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม และ
โลภะ และขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส และปฏิฆะที่เกิดภายหลัง, เป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรมที่เกิดภายหลัง และกวฬีการา-
หาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรมที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิติน-
ทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
9. คันถสัมปยุตตธรรม และคันถวิปปยุตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตตธรรม และคันถวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย

มี 2 อย่าง คือ สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ 1 ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรมที่เกิดพร้อม
กัน และโลภะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ 2 ฯลฯ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ 1 ที่สหรคตด้วยโทมนัส และปฏิฆะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3
และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ 2 ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตะ รวมกัน ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ 1 ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม และหทย-
วัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3 และโลภะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ 2
ฯลฯ
ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ 1 ที่สหรคตด้วยโทมนัส และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3
และปฏิฆะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ 2 ฯลฯ

การนับจํานวนวาระในอนุโลม


[559] ในเหตุปัจจัย มี 9 วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี 9 วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี 9 วาระ ในอนันตรปัจจัย มี 9 วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี 9 วาระ ในสหชาตปัจจัย มี 9 วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี 9 วาระ ใน
นิสสยปัจจัย มี 9 วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี 9 วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี
3 วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี 3 วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี 9 วาระ ใน
กัมมปัจจัย มี 4 วาระ ในวิปากปัจจัย มี 1 วาระ ในอาหารปัจจัย มี 4 วาระ
ในอินทริยปัจจัย มี 4 วาระ ในฌานปัจจัย มี 4 วาระ ในมัคคปัจจัย มี
4 วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี 6 วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี 5 วาระ ใน
อัตถิปัจจัย มี 9 วาระ ในนัตถิปัจจัย มี 9 วาระ ในวิคตปัจจัย มี 9 วาระ
ในอวิคตปัจจัย มี 9 วาระ.